วันอาทิตย์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556

องค์ประกอบห่้องเรียนคุณภาพ



หลังจากได้มีโอกาสได้เยี่ยมชั้นเรียนและนิเทศ ได้พบว่าในบรรยากาศทุกชั้นที่เข้าเยี่ยมมีความเหมาะสมในการจัดการเรียนการสอน ขอเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับห้องเรียนที่มีคุณภาพว่าควรมีองค์ประกอบใด
KPI ห้องเรียนคุณภาพ

ด้านกระบวนการ(คุณภาพครู)

 


องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
1.พฤติกรรมการเปลี่ยนแปลง
ระดับ 1 ครูมีพฤติกรรมยอมรับแต่ไม่ให้ความร่วมมือการเปลี่ยนแปลงทั้งที่ไม่เต็มใจ
ระดับ 2 ครูมีพฤติกรรมยอมรับการเปลี่ยนแปลงด้วยความเต็มใจ
 ระดับ 3 ครูมีพฤติกรรมยอมรับการเปลี่ยนแปลงและ     ให้ความร่วมมือปฏิบัติงาน ด้วยความเต็มใจ
ระดับ 4 ครูมีพฤติกรรมยอมรับการเปลี่ยนแปลง ให้ความร่วมมือปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจและทุ่มเทการปฏิบัติอย่างเต็มกำลัง
ระดับ 5 ครูมีพฤติกรรมยอมรับการเปลี่ยนแปลง ให้ความร่วมมือปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจ ทุ่มเทการปฏิบัติอย่างเต็มกำลังและมีความกระตือรือร้นในทางสร้างสรรค์
1.การสัมภาษณ์ผู้บริหาร ครู นักเรียนและผู้เกี่ยวข้อง
2.การตรวจสอบหลักฐาน
 -ID Plan
 -แผนการจัดการเรียนรู้
-ผลงานของนักเรียน
 -CAR
 -ICT
3.การสังเกต
 -พฤติกรรมเชิงบวกของนักเรียน ครูในห้องเรียนคุณภาพ

 

 

 
KPI ห้องเรียนคุณภาพ

 

องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
2.ครูออกแบบการเรียนรู้ตอบสนองมาตรฐานการเรียนรู้ในหลักสูตร
ระดับ 1 จัดทำหน่วยการเรียนรู้โดยระบุเป้าหมายการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ของผู้เรียนและกิจกรรมการเรียนรู้ ยังไม่สอดคล้องสัมพันธ์กัน
ระดับ 2 จัดทำหน่วยการเรียนรู้โดยระบุเป้าหมายการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ของผู้เรียนและกิจกรรมการเรียนรู้ สอดคล้องสัมพันธ์กันและตอบสนองมาตรฐานการเรียนรู้ในหลักสูตรบางส่วน
ระดับ 3 จัดทำหน่วยการเรียนรู้โดยระบุเป้าหมายการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ของผู้เรียนและกิจกรรมการเรียนรู้ ยังไม่สอดคล้องสัมพันธ์กันและตอบสนองมาตรฐานการเรียนรู้ในหลักสูตรครบถ้วน
ระดับ 4 จัดทำหน่วยการเรียนรู้โดยระบุเป้าหมายการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ของผู้เรียนและกิจกรรมการเรียนรู้ สอดคล้องสัมพันธ์กันและตอบสนองมาตรฐานการเรียนรู้ในหลักสูตรครบถ้วน กิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาทักษะการคิด มีวิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย สอดคล้องกับเป้าหมายการเรียนรู้
ระดับ 5 จัดทำหน่วยการเรียนรู้โดยระบุเป้าหมายการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ของผู้เรียนและกิจกรรมการเรียนรู้ สอดคล้องสัมพันธ์กันและตอบสนองมาตรฐานการเรียนรู้ในหลักสูตรครบถ้วน  กิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาทักษะการคิด เลือกวิธีการวัดและประเมินผลได้ตรงกับเป้าหมายการเรียนรู้และตอบสนองมาตรฐานการเรียนรู้ในหลักสูตรและมีการนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
 
1.การตรวจสอบหลักฐาน
   -หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
   - แผนการจัดการเรียนรู้

 

องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
3.ครูจัดการเรียนรู้ตามหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ระดับ 1 มีการจัดการเรียนรู้ มีขั้นตอนกิจกรรมนำเข้าสู่การเรียน กิจกรรมพัฒนานักเรียนและกิจกรรมรวบยอด  ยังไม่ครบถ้วนตามการออกแบบหน่วยการเรียนรู้
ระดับ 2  มีการจัดการเรียนรู้ มีขั้นตอนกิจกรรมนำเข้าสู่การเรียน กิจกรรมพัฒนานักเรียนและกิจกรรมรวบยอดครบถ้วน  ตามการออกแบบหน่วยการเรียนรู้  แต่กิจกรรมส่วนใหญ่เน้นบทบาทครูมากกว่านักเรียน
ระดับ 3  มีการจัดการเรียนรู้ มีขั้นตอนกิจกรรมนำเข้าสู่การเรียน กิจกรรมพัฒนานักเรียนและกิจกรรมรวบยอดครบถ้วน  ตามการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมส่วนใหญ่เน้นบทบาทนักเรียนมากกว่าครู
ระดับ 4  มีการจัดการเรียนรู้ มีขั้นตอนกิจกรรมนำเข้าสู่การเรียน กิจกรรมพัฒนานักเรียนและกิจกรรมรวบยอดครบถ้วน  ตามการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมส่วนใหญ่เน้นบทบาทนักเรียนมากกว่าครู ส่งเสริมให้นักเรียนใช้กระบวนการคิด ค้นคว้าสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง
ระดับ 5   มีการจัดการเรียนรู้ มีขั้นตอนกิจกรรมนำเข้าสู่การเรียน กิจกรรมพัฒนานักเรียนและกิจกรรมรวบยอดครบถ้วน  ตามการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมส่วนใหญ่เน้นบทบาทนักเรียนมากกว่าครู ส่งเสริมให้นักเรียนใช้กระบวนการคิด ค้นคว้าสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง สามารถเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้และการนำไปใช้ในชีวิตจริงได้
1.การสัมภาษณ์ครูและนักเรียนเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน
2.การสังเกตการสอนในห้องเรียน
3.การตรวจสอบเอกสาร
   -แผนการจัดการเรียนรู้
   -ผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนที่เป็นผลงานจากการจัดการเรียนรู้

 


องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
4.ครูมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยวิธีการที่หลากหลายเพื่อพัฒนาผู้เรียน
ระดับ 1 มีการวัดและ ประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย และมีเกณฑ์การประเมินผลงาน/ชิ้นงานผู้เรียน
ระดับ 2 มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลายและมีเกณฑ์การประเมินผลงาน/ชิ้นงาน ผู้เรียนครอบคลุมตามมาตรฐาน /เป้าหมายการเรียนรู้
ระดับ 3 มีการวัดและ ประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย  มีเกณฑ์การประเมินผลงาน/ชิ้นงานผู้เรียนครอบคลุมมาตรฐาน/เป้าหมายการเรียนรู้ และมีการนำผลการประเมินมาวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของผู้เรียนและสะท้อนผลสู่ผู้เรียนเพื่อการพัฒนา
ระดับ 4  มีการวัดและ ประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย  มีเกณฑ์การประเมินผลงาน/ชิ้นงานครอบคลุมมาตรฐาน/เป้าหมายการเรียนรู้  มีการนำผลการประเมินมาวิเคราะห์จุดเด่น  จุดด้อยของผู้เรียนและสะท้อนผลสู่ผู้เรียนเพื่อการพัฒนา  และมีการนำผลการประเมินมาจัดกลุ่มผู้เรียนและออกแบบการเรียนรู้หรือพัฒนาผู้เรียนอย่างเหมาะสม และต่อเนื่อง
ระดับ 5 มีการวัดและ ประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย  มีเกณฑ์การประเมินผลงาน/ชิ้นงานครอบคลุมมาตรฐาน/เป้าหมายการเรียนรู้ มีการนำผลการประเมินมาวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของผู้เรียนและสะท้อนผลสู่ผู้เรียนเพื่อการพัฒนา  มีการนำผลการประเมินมาจัดกลุ่มผู้เรียนและออกแบบการเรียนรู้หรือพัฒนาผู้เรียนอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง  และมีการรายงานผลผู้เกี่ยวข้องเพื่อใช้ผลการพัฒนาผู้เรียนร่วมกัน
1.การตรวจสอบหลักฐาน/ร่องรอย
  - หน่วยการเรียนรู้
  -แผนการจัดการเรียนรู้
  -ผลงาน/ชิ้นงานนักเรียน
  -บันทึกผลการประเมินของครู
  -เครื่องมือวัดและประเมินผล
  -เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงานของนักเรียน
2.สอบถาม/สัมภาษณ์นักเรียน ครูและผู้ปกครอง
3.สังเกตการจัดการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในห้องเรียน
 
 
 
 
 

 


องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
5.ครูนำเสนอรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนด้วยระดับคุณภาพ(Rubrics)
ระดับ 1 มีร่องรอยการประเมินและนำเสนอผลการพัฒนาผู้เรียน
 
ระดับ 2  มีร่องรอยการประเมินและนำเสนอผลการพัฒนาผู้เรียนด้วยระดับคุณภาพ
 
ระดับ 3  มีร่องรอยการประเมินและนำเสนอผลการพัฒนาผู้เรียนด้วยระดับคุณภาพและมีการรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนแก่ผู้เกี่ยวข้อง
 
ระดับ 4  มีร่องรอยการประเมินและนำเสนอผลการพัฒนาผู้เรียนด้วยระดับคุณภาพ มีการรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนแก่ผู้เกี่ยวข้อง และนำผลการประเมินชิ้นงานมาพัฒนาผู้เรียน
 
ระดับ 5  มีร่องรอยการประเมินและนำเสนอผลการพัฒนาผู้เรียนด้วยระดับคุณภาพ มีการรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนแก่ผู้เกี่ยวข้อง และนำผลการประเมินชิ้นงานมาพัฒนาผู้เรียนให้มีระดับคุณภาพที่สูงขึ้น
 
1.การสัมภาษณ์ผู้บริหาร ครูและนักเรียน
2.การตรวจสอบหลักฐาน
  -แผนการจัดการเรียนรู้
  -ผลงาน/ชิ้นงานนักเรียนที่สะท้อนระดับคุณภาพมาตรฐานที่สูงขึ้น
 -เครื่องมือ/เกณฑ์ระดับคุณภาพการประเมินผลงาน/ชิ้นงาน
  -รายงานผลการพัฒนา
         ฯลฯ

   


องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
6.ครูมีทักษะพื้นฐานในการใช้สื่อ ICT
ระดับ 1  ครูน้อยกว่าร้อยละ 20 ใช้โปรแกรมพื้นฐาน เช่น Word processor, presentation, spread sheet ระบบเครือข่ายในการทำงาน
ระดับ 2  ครูมากกว่าร้อยละ  20 ใช้โปรแกรมพื้นฐาน เช่น Word processor, presentation, spread sheet ระบบเครือข่ายในการทำงาน
ระดับ 3 ครูมากกว่าร้อยละ 40 ใช้โปรแกรมพื้นฐาน เช่น Word processor, presentation, spread sheet ระบบเครือข่ายในการทำงาน
ระดับ 4 ครูมากกว่าร้อยละ 60 ใช้โปรแกรมพื้นฐาน เช่น Word processor, presentation, spread sheet ระบบเครือข่ายในการทำงาน
ระดับ 5 ครูมากกว่าร้อยละ 80 ใช้โปรแกรมพื้นฐาน เช่น Word processor, presentation, spread sheet ระบบเครือข่ายในการทำงาน
 
 
- สังเกต
- สัมภาษณ์
- สอบถาม
- แผนการเรียนรู้
- เอกสารหลักฐาน

  


องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
7.ครูออกแบบและ         จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนใช้ ICT    
 ในกระบวน การเรียนรู้
 
ระดับ 1 ครูน้อยกว่าร้อยละ 20  ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้สื่อ ICT เพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ระดับ 2 ครูมากกว่าร้อยละ 20  ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้สื่อ ICT เพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ระดับ 3 ครูมากกว่าร้อยละ 40  ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้สื่อ ICT เพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ระดับ 4 ครูมากกว่าร้อยละ 60  ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้สื่อ ICT เพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ระดับ 5 ครูมากกว่าร้อยละ 80  ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้สื่อ ICT เพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
 
สังเกต
สัมภาษณ์
สอบถาม
แผนการเรียนรู้

 


องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
8.ครูมีการนำ ICT  มาใช้ในกระบวน  การเรียนรู้
 
ระดับ 1  ครูน้อยกว่าร้อยละ 20 จัดกิจกรรมการเรียนรู้
โดยใช้สื่อ ICT และหรือใช้แหล่งเรียนรู้ในระบบเครือข่าย
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้
ระดับ 2 ครูมากกว่าร้อยละ 20 จัดกิจกรรมการเรียนรู้
โดยใช้สื่อ ICT และหรือใช้แหล่งเรียนรู้ในระบบเครือข่าย
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้
ระดับ 3  ครูมากกว่าร้อยละ 40 จัดกิจกรรมการเรียนรู้
โดยใช้สื่อ ICT และหรือใช้แหล่งเรียนรู้ในระบบเครือข่าย
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้
ระดับ 4  ครูมากกว่าร้อยละ 60 จัดกิจกรรมการเรียนรู้
โดยใช้สื่อ ICT และหรือใช้แหล่งเรียนรู้ในระบบเครือข่าย
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้
ระดับ 5 ครูมากกว่าร้อยละ 80 จัดกิจกรรมการเรียนรู้
โดยใช้สื่อ ICT และหรือใช้แหล่งเรียนรู้ในระบบเครือข่าย
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้
 
 
-สังเกต
-สัมภาษณ์
-สอบถาม
-เอกสาร
-หลักฐาน
 

 

 
 
 
องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/
หลักฐานร่องรอย
9. ครูมีการพัฒนาระบบ
    ดูแลช่วยเหลือนักเรียน
   ในชั้นเรียน
 
 
 
ระดับ 1  ครูทำความรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลด้วย
              เครื่องมือที่หลากหลาย
ระดับ 2  ครูทำความรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล มีการ
              คัดกรองนักเรียนและนำผลการคัดกรองมา
              พัฒนา/ปรับปรุงพฤติกรรม
ระดับ 3  ครูทำความรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล มีการ
              คัดกรองนักเรียน นำผลการคัดกรองมาพัฒนา/
              ปรับปรุงพฤติกรรม โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมและ
              พัฒนานักเรียน ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล
              และพัฒนาตามศักยภาพ
ระดับ 4  ครูทำความรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล มีการ
              คัดกรองนักเรียน นำผลการคัดกรองมาพัฒนา/
              ปรับปรุงพฤติกรรม โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมและ
              พัฒนานักเรียน ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล
              และพัฒนาตามศักยภาพ มีการเสริมสร้าง
              ภูมิคุ้มกัน/ป้องกันช่วยเหลือ/และแก้ไขปัญหา
              รายบุคคล
ระดับ 5  ครูทำความรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล มีการ
              คัดกรองนักเรียน นำผลการคัดกรองมาพัฒนา/
              ปรับปรุงพฤติกรรม โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมและ
              พัฒนานักเรียน ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล
              และพัฒนาตามศักยภาพ มีการเสริมสร้าง
              ภูมิคุ้มกัน/ป้องกันช่วยเหลือ/และแก้ไขปัญหา
              รายบุคคล  มีระบบการส่งต่อนักเรียนตามสภาพ
              ปัญหาทั้งภายในและภายนอก
 
1.การสัมภาษณ์ครู นักเรียน ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง
2.ตรวจสอบหลักฐานร่องรอย
-แฟ้มบันทึกการเยี่ยมบ้าน
-แฟ้มบันทึกผลการช่วยเหลือ/แก้ปัญหา
-แฟ้มสรุปกลุ่มจากการ
คัดกรอง
-เอกสาร/สื่อ/หลักสูตรการจัดกิจกรรมโฮมรูม,ทักษะการดำรงชีวิต,เพศศึกษา
-รายงาน/สรุป/โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนา -รายงาน/สรุป/ติดตามผลการส่งต่อ/แก้ไขปัญหา
-การประชุม/ประสานเครือข่ายสหวิชาชีพ
-คู่มือ/แนวทางการสร้างวินัยเชิงบวกของโรงเรียน
-ข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนในระดับชั้นเรียนและโรงเรียน
                อื่นๆ
 
 

 

 
- 10 -
 
 
องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/
หลักฐานร่องรอย
10. ครูมีการส่งเสริม และ
      การป้องกันปัญหา
     นักเรียนด้วยการ
     เสริมสร้างวินัยเชิงบวก
ระดับ 1  ครูสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตร
ระดับ 2  ครูสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตร
              เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความรู้สึกนึกคิด
              รับฟังอย่างเข้าใจและให้เกียรติ
ระดับ 3  ครูสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตร
              เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความรู้สึกนึกคิด
              รับฟังอย่างเข้าใจและให้เกียรติ ใช้คำถาม
              ให้ผู้เรียนสะท้อนความรู้สึก หาสาเหตุ และ
              ผลการกระทำบนพื้นฐานการยอมรับของผู้เรียน
ระดับ 4  ครูสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตร
              เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความรู้สึกนึกคิด
              รับฟังอย่างเข้าใจและให้เกียรติ ใช้คำถาม
              ให้ผู้เรียนสะท้อนความรู้สึก หาสาเหตุ และ
              ผลการกระทำบนพื้นฐานการยอมรับของผู้เรียน
              ใช้คำถามให้ผู้เรียนประเมินและเลือกทางเลือก
              กำหนดแนวปฏิบัติที่เกิดผลดีกับตนเองโดย
              สร้างข้อตกลงร่วมกัน
ระดับ 5  ครูสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตร
              เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความรู้สึกนึกคิด
              รับฟังอย่างเข้าใจและให้เกียรติ ใช้คำถาม
              ให้ผู้เรียนสะท้อนความรู้สึก หาสาเหตุ และ
              ผลการกระทำบนพื้นฐานการยอมรับของผู้เรียน
              ใช้คำถามให้ผู้เรียนประเมินและเลือกทางเลือก
              กำหนดแนวปฏิบัติที่เกิดผลดีกับตนเองโดย
              สร้างข้อตกลงร่วมกัน  ครูเสริมแรงให้เกิด
              การปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนเกิดผลดีต่อตนเอง
              และสังคม มีความภาคภูมิใจและยึดถือปฏิบัติ
              อย่างยั่งยืน
1. การสอบถามสัมภาษณ์
   สังเกต ครู นักเรียน และ
   ผู้ปกครอง
2. ตรวจสอบหลักฐาน
     -แสดงกฎ กติกา ระเบียบ
      ของห้องเรียน
     -บันทึกพฤติกรรมที่
      ต้องพัฒนา
     -บันทึกความดี
     -บันทึกความร่วมมือใน
      การแก้ไขปัญหาของ
      นักเรียน (Case 
       Conference)
     -การเสริมแรง
3. ตรวจสอบจากแผนการ
    เรียนรู้
                 อื่นๆ

 


องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
11. ครูมีการวิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล
ระดับ 1  มีบันทึกข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคลตามระเบียนสะสมหรือแบบบันทึกข้อมูลอื่นแต่ไม่ครบทุกคนหรือไม่เป็นปัจจุบัน
ระดับ 2  มีบันข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคลตามระเบียนสะสมหรือแบบบันทึกข้อมูลอื่นครบทุกคนและเป็น
ปัจจุบัน
ระดับ 3  มีบันทึกการวิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคลครบทุกคนและเป็นปัจจุบัน
ระดับ4  มีการนำข้อมูลนักเรียนที่วิเคราะห์ไว้ทุกคนไปใช้ในการพัฒนานักเรียนหรือมีแผนจัดการเรียนรู้ที่อิงมาตรฐานและสอดคล้องกับสภาพนักเรียน
ระดับ 5  มีรายงานวิจัยชั้นเรียนที่แสดงถึงการวิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล(CAR1)
- ศึกษาเอกสาร 
   แบบบันทึก 
   ระเบียนสะสม     
   รายงานวิจัย
- สังเกต  สนทนา  ซักถาม ครู
    นักเรียน และสังเกตสภาพแวดล้อม

 


องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
การประเมินเพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้
12. ครูนำผลการประเมินการเรียนการสอนไปพัฒนาหรือปรับแผนการจัดการเรียนรู้
 
ระดับ 1  มีการประเมินการจัดการเรียนการสอนของตนเองแต่ยังไม่ต่อเนื่องทุกแผน
ระดับ 2  มีการประเมินการจัดการเรียนการสอนของตนเองอย่างต่อเนื่องทุกแผน
ระดับ 3  มีการนำผลการประเมินการจัดการเรียนการสอนของตนเองไปใช้ในการปรับปรุงหรือพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนแต่ไม่ต่อเนื่องหรือไม่ครบทุกแผนที่มีปัญหา
ระดับ 4  มีการนำผลการประเมินการจัดการเรียนการสอนของตนเอง ไปใช้ในการปรับปรุงหรือพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนอย่างต่อเนื่องหรือปรับปรุงทุกแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีปัญหา
ระดับ 5  มีรายงานวิจัยชั้นเรียนที่แสดงให้เห็นถึงวิธีการปรับปรุงหรือพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้หลังจากการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ของตน(CAR2)
- ศึกษาเอกสาร  บันทึก
    แผนการจัดการเรียนรู้    รายงานวิจัย
- สังเกต  สนทนา   ซักถาม  ครู
    นักเรียน  และสังเกตสภาพแวดล้อม

 

องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
กรณีศึกษานักเรียน
13.ครูศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคล
ระดับ 1  มีการศึกษานักเรียนแต่ไม่มีข้อมูลที่แสดงถึงการศึกษาเป็นรายบุคคล
ระดับ 2  มีการศึกษานักเรียนและมีข้อมูลที่แสดงถึงการศึกษาเป็นรายบุคคลแต่ไม่ต่อเนื่องหรือไม่เป็นปัจจุบัน
ระดับ 3  มีการศึกษานักเรียนและมีหลักฐาน ข้อมูล ที่แสดงถึงการศึกษาเป็นรายบุคคลอย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน
ระดับ 4  ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเกิดการพัฒนา  หรือแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับนักเรียนรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง โดยใช้ข้อมูลจากการศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคล และมีหลักฐานการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน
ระดับ 5  มีรายงานวิจัยชั้นเรียนที่แสดงถึงวิธีการ และผลการแก้ปัญหาหรือพัฒนานักเรียนรายบุคคล(CAR3)
- ศึกษาเอกสาร  บันทึกข้อมูลที่ศึกษานักเรียน
    แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน  
    รายงานการศึกษานักเรียนรายบุคคล
- สังเกต  สนทนา  ซักถาม ครู นักเรียน
   และสังเกตสภาพแวดล้อม

 


องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
กรณีศึกษาตนเอง
14.ครูศึกษาและพัฒนาตนเอง
ระดับ 1  มีการศึกษาการจัดการเรียนรู้ที่ตนปฏิบัติแต่ไม่มีข้อมูลที่ชัดเจน
ระดับ 2  มีการศึกษาการจัดการเรียนรู้ที่ตนปฏิบัติและมีข้อมูลที่ชัดเจนแต่ไม่ต่อเนื่องหรือไม่เป็นปัจจุบัน
ระดับ 3  มีการศึกษาการจัดการเรียนรู้ที่ตนปฏิบัติและมีข้อมูลปรากฏชัดเจนอย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน
ระดับ 4  มีการพัฒนา ปรับปรุง  การจัดการเรียนรู้ที่ตนปฏิบัติหรือพฤติกรรมของตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยใช้ข้อมูลจากศึกษาการจัดการเรียนรู้ของตน
ระดับ 5  มีรายงานตนเอง(Self Study Report:SSR) เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้หรือการแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของตน(CAR3)
- ศึกษาเอกสาร  บันทึก  แผนการจัดการ
  เรียนรู้   รายงานตนเอง(Self Study
    Report:SSR)  รายงานพัฒนาการจัด
    การเรียนการสอนของตน(CAR3)
- สังเกต  สนทนา  ซักถาม  ครู  นักเรียน
   และสังเกตสภาพแวดล้อม

 


องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
15.ครูใช้และพัฒนานวัตกรรมการจัด               การเรียนรู้สำหรับนักเรียน
ระดับ 1  มีการศึกษาการใช้นวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับนักเรียนในภาพรวม
ระดับ 2  มีการศึกษาการใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับนักเรียนปกติ และนักเรียนที่ศึกษาเป็นกรณีพิเศษเฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะรายตามสภาพที่เป็นจริง
ระดับ 3  มีการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับ นักเรียนปกติและนักเรียนที่ศึกษาเป็นกรณีพิเศษเฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะรายอย่างเป็นระบบ
ระดับ 4  มีบันทึกผลการศึกษา    การใช้และพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับนักเรียนปกติและนักเรียนที่ศึกษาเป็นกรณีพิเศษเฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะรายที่เป็นระบบอย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน
ระดับ 5  มีรายงานวิจัยชั้นเรียนเกี่ยวกับการใช้และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับนักเรียนปกติและนักเรียนที่ศึกษาเป็นกรณีพิเศษ    (CAR4)
- ศึกษาเอกสาร  บันทึก  แผนการจัดการ
  เรียนรู้    สื่อ  รายงานพัฒนานวัตกรรม
    การจัดการเรียนรู้ของตน(CAR4)
- สังเกต  สนทนา  ซักถาม  ครู  นักเรียน
   และสังเกตสภาพแวดล้อม

 


องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
การวิจัยในชั้นเรียน
16.ครูดำเนินการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการเรียนรู้
 
ระดับ 1  ครูมีการศึกษาและจัดทำข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล แต่ยังไม่มีการสรุปรายงานและใช้ข้อมูลเพื่อการพัฒนาผู้เรียนอย่างชัดเจน
ระดับ 2  ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียน จัดทำสรุปรายงานเป็นลายลักษณ์อักษร(CAR1) แต่ใช้ข้อมูลในการพัฒนาผู้เรียนยังไม่ชัดเจน
ระดับ 3  ครูมีการใช้ข้อมูลผู้เรียนในการออกแบบการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้มีการประเมิน บันทึกผลการเรียนรู้และจัดทำรายงานเป็นลายลักษณ์อักษร(CAR2)
 ระดับ 4  ครูมีการวิเคราะห์ผลการจัดการเรียนรู้ นำมาพัฒนาสื่อนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ทั้งห้องเรียนหรือเป็นกลุ่มหรือเป็นรายบุคคลตามสภาพผู้เรียน และมีการจัดทำรายงานผลการพัฒนาเป็นลายลักษณ์อักษร(CAR3)
ระดับ 5  ครูมีการจัดการเรียนรู้ บันทึกผล ประเมินและพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่องเป็นวิถีชีวิตและใช้ข้อมูลผู้เรียนในการวางแผนพัฒนาตนเอง(ID Plan) เพื่อการพัฒนาผู้เรียน(CAR4)
- ศึกษาเอกสาร  บันทึก
    แผนการจัดการเรียนรู้    รายงานวิจัย
- สังเกต  สนทนา   ซักถาม  ครู
    นักเรียน  และสังเกตสภาพแวดล้อม
- ID  Plan

 

ผลผลิต (คุณภาพนักเรียน)

 

องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
1.พฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงของผู้เรียน
ระดับ 1 ผู้เรียนไม่มีพฤติกรรมใฝ่รู้ใฝ่เรียนและเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
ระดับ 2 ผู้เรียนมีพฤติกรรมใฝ่รู้ใฝ่เรียนและเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
ระดับ 3 ผู้เรียนมีพฤติกรรมใฝ่รู้ใฝ่เรียน สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและมีทักษะในการคิด
ระดับ 4 ผู้เรียนมีพฤติกรรมใฝ่รู้ใฝ่เรียน  สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีทักษะในการคิดและเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง
ระดับ 5 ผู้เรียนมีพฤติกรรมใฝ่รู้ใฝ่เรียน  สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีทักษะในการคิด  เรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงและมีพฤติกรรมตื่นตัวในทางสร้างสรรค์
 
 
1.การสัมภาษณ์ ผู้บริหาร ครู นักเรียนและผู้เกี่ยวข้อง
2.การตรวจสอบหลักฐาน
 -บันทึกการเรียนรู้
 -ผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียน
 3.การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน

 


องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
2.ผู้เรียนมีผลงาน/ชิ้นงานที่สะท้อนมาตรฐาน/คุณภาพการคิดระดับสูง
ระดับ 1 ผู้เรียนมีผลงาน/ชิ้นงานได้ตามใบงานหรือการมอบหมายถูกต้องตามที่ครูกำหนด
 
ระดับ 2 ผู้เรียนมีผลงาน/ชิ้นงานที่ปรับปรุงดีกว่าต้นแบบหรือกฎเกณฑ์ที่ครูกำหนด มีข้อมูลจากการเรียนรู้หรือประสบการณ์เพิ่มมากขึ้น
 
ระดับ 3 ผู้เรียนมีผลงาน/ชิ้นงานที่คิดค้นขึ้นมาใหม่ มีการจัดกระทำข้อมูลจากการเรียนรู้หรือประสบการณ์เพิ่มขึ้นอย่างเป็นระบบ
 
ระดับ 4  ผู้เรียนมีผลงาน/ชิ้นงานที่คิดค้นขึ้นมาใหม่ มีการจัดกระทำข้อมูลจากการเรียนรู้หรือประสบการณ์เพิ่มขึ้นอย่างเป็นระบบ มีรูปแบบการนำเสนอหลากหลายแง่มุมสรุปนำเสนอเชื่อมโยงสัมพันธ์กับชีวิตจริง
 
ระดับ 5 ผู้เรียนมีผลงาน/ชิ้นงานที่เกิดจากการคิดค้น ขึ้นมาใหม่ มีการจัดกระทำข้อมูลจากการเรียนรู้หรือประสบการณ์เพิ่มขึ้นอย่างเป็นระบบมีรูปแบบการนำเสนอหลากหลายแง่มุม สรุปนำเสนอเชื่อมโยงสัมพันธ์กับชีวิตจริง สามารถเปรียบเทียบผลการพัฒนางานให้เห็นปัญหาและปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำเร็จของงาน และสามารถนำเสนอได้ครบถ้วน
 
1.การสัมภาษณ์ ผู้บริหาร ครู นักเรียนและผู้เกี่ยวข้อง
2.การตรวจสอบหลักฐาน
 -บันทึกการเรียนรู้
 -ผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียน
3. รายงานผลการประเมินผู้เรียน
4. อาจสุ่มประเมินผู้เรียนร้อยละ20 ของชั้นเรียน หรือประเมินภาพรวมแล้วเพิ่มเกณฑ์การประเมินเชิงปริมาณร้อยละ 80ของผู้เรียนที่มีผลงานในแต่ละระดับคุณภาพ

 
ผลผลิต (คุณภาพนักเรียน)
 


องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
3.นักเรียนมีทักษะในการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้
ระดับ 1  นักเรียนน้อยกว่าร้อยละ 20 ใช้โปรแกรมพื้นฐาน เช่น Word processor,  presentation, spread sheet ระบบเครื่อข่ายในการทำงาน
ระดับ 2  นักเรียนมากกว่าร้อยละ 20 ใช้โปรแกรมพื้นฐาน เช่น Word processor,  presentation, spread sheet ระบบเครื่อข่ายในการทำงาน
ระดับ 3  นักเรียนมากกว่าร้อยละ 40 ใช้โปรแกรมพื้นฐาน เช่น Word processor,  presentation, spread sheet ระบบเครื่อข่ายในการทำงาน
ระดับ 4  นักเรียนมากกว่าร้อยละ 60 ใช้โปรแกรมพื้นฐาน Word processor,  presentation, spread sheet ระบบเครื่อข่ายในการทำงาน
ระดับ 5 นักเรียนมากกว่าร้อยละ 80 ใช้โปรแกรมพื้นฐาน เช่น Word processor,  presentation, spread sheet ระบบเครื่อข่ายในการทำงาน
 
-สัมภาษณ์ผู้เรียน
-แผนการจัดการเรียนรู้ของครู
-นักเรียนสาธิตการปฏิบัติจริง
-สังเกตอุปกรณ์ในห้องเรียน
 

 


องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายการประเมิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การประเมิน
วิธีการประเมิน/หลักฐานร่องรอย
4.นักเรียนมีโอกาสในการใช้ ICT ในการเรียนรู้
ระดับ 1 ผู้เรียนน้อยกว่าร้อยละ 20 ได้ใช้สื่อ ICT เพื่อการสาธิตหรือฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมการเรียนรู้ตามความต้องการและจำเป็น
ระดับ 2 ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 20  ได้ใช้สื่อ ICT เพื่อการสาธิตหรือฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมการเรียนรู้ตามความต้องการและจำเป็น
ระดับ 3 ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 40  ได้ใช้สื่อ ICT เพื่อการสาธิตหรือฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมการเรียนรู้ตามความต้องการและจำเป็น
ระดับ 4 ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 60 ได้ใช้สื่อ ICT เพื่อการสาธิตหรือฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมการเรียนรู้ตามความต้องการและจำเป็น
ระดับ 5 ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 80 ใช้สื่อ ICT เพื่อการสาธิตหรือฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมการเรียนรู้ตามความต้องการและจำเป็น
 
-สัมภาษณ์ผู้เรียน
-แผนการจัดการเรียนรู้ของครู
-นักเรียนปฏิบัติจริง
-สังเกตอุปกรณ์ในห้องเรียน