วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

รูปแบบการเขียนโครงการ โรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์


แบบฟอร์มการเขียนโครงการ/กิจกรรมที่บรรจุไว้ในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๖

 

๑. แผนงาน (กลยุทธ์โรงเรียน)……………………….……………………………….

๒. ชื่อโครงการ........................................................................................

                 (ชื่อกิจกรรม : ……………………………………………………………………………………)

๓. หลักการและเหตุผล......................................................................................................

๔. วัตถุประสงค์

          ๔.๑ ....................................................................................................................

          ๔.๒ ...................................................................................................................

๕. เป้าหมาย

          ๕.๑ เป้าหมายเชิงปริมาณ................................................................................

          ๕.๒ เป้าหมายเชิงคุณภาพ................................................................................

๖. วิธีดำเนินการ/ขั้นตอนดำเนินงาน

 

กิจกรรมสำคัญ
ระยะเวลา
งบประมาณ
ผู้รับผิดชอบ
๑.............................................
 
 
 
๒.............................................
 
 
 
๓.............................................
 
 
 
๔.............................................
 
 
 

๗. ระยะเวลาดำเนินการ………………………………………………………………………………………………..

๘.งบประมาณ...........................................................................บาท

๙. หน่วยงาน/ผู้เกี่ยวข้อง........................................................................................................................

๑๐. ผลที่คาดว่าจะได้รับ........................................................................................................................

ลงชื่อ..........................................ผู้เสนอโครงการ  ลงชื่อ.........................................ผู้เห็นชอบโครงการ

     (..........................................)                          (นางสาวจุรีรัตน์  นาคสมบัติ)

ตำแหน่ง....................................                                            ครู                                              

ลงชื่อ..........................................ผู้เห็นชอบโครงการ        ลงชื่อ.........................................ผู้เห็นชอบโครงการ

     (..........................................)                                (นายเอกราช  บุราชรินทร์)

รองผู้อำนวยการกลุ่มงานบริหารที่รับผิดชอบ  รองผู้อำนวยการโรงเรียนกลุ่มงานบริหารงบประมาณและแผนงาน  

ลงชื่อ........................................ผู้อนุมัติโครงการ

       (นายทองหล่อ  สิงห์คง)

                          ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์
 

ที่มา : หนังสือ “แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓  เล่มที่ ๓  สำนักงานทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๔ หน้า ๖๐-๖๑,๙๖-๑๐๔

 

 

 

 

 

 
 





 

 

 

 



นโยบายการจัดการศึกษาของโรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์  ปีการศึกษา ๒๕๕๕

           วิสัยทัศน์

                       ภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๗  โรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์  เป็นโรงเรียนชั้นดีมีมาตรฐาน ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย  เน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  เคียงคู่คุณธรรม  เป็นผู้นำวิชาการ  สืบสานความเป็นไทย ก้าวไกลสู่สากล

           พันธกิจ

๑.    จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและสู่ความเป็นสากล

๒.    พัฒนาผู้เรียนให้มีระเบียบวินัย  พร้อมด้วยคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา

๓.    ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ พัฒนาตนเองตามศักยภาพอย่าง

ต่อเนื่อง มีความเป็นประชาธิปไตย อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข

๔.    ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการ มีทักษะกระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ การใช้เทคโนโลยีและภาษาในการสื่อสาร

๕.    ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนแสดงออกถึงความสามารถพิเศษตามศักยภาพแห่งตน

๖.    ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ตามมาตรฐานวิชาชีพมีความสามารถในการ

บริหารงานจัดการเรียนรู้เน้นที่ผู้เรียนเป็นสำคัญ และมีทักษะการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ

๗.    ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่

๘.    พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพตามเกณฑ์

๙.    พัฒนาทรัพยากรด้านการศึกษา  แหล่งการเรียนรู้ให้เพียงพอต่อการจัดการเรียนรู้

ส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและพลังงาน

๑๐.  ส่งเสริมการอนุรักษ์  ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย  ภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญา

ท้องถิ่น

๑๑.  ส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีและการมีส่วนร่วม ระหว่างบ้าน โรงเรียน ศิษย์เก่าและ

ชุมชน

           เป้าหมาย

               ด้านคุณภาพผู้เรียน

๑.   มีหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น  สอดคล้องกับการศึกษา

ของชาติ

๒.   ผู้เรียนร้อยละ  ๘๐ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้อยู่ในระดับ

๓ -๔ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๕ วิชาหลักเพิ่มขึ้นร้อยละ ๔

๓.   ผู้เรียนประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์

๔.   ผู้เรียนมีทักษะที่จำเป็นในการดำเนินชีวิต มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มี

สุนทรียภาพ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

๕.   ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๖.   ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ

๗.   ผู้เรียนสร้างสรรค์ผลงานอย่างหลากหลาย เต็มศักยภาพ ตามความถนัดและความ

สนใจ

๘.   ผู้เรียนเห็นคุณค่าและภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ภูมิปัญญาไทย

และภูมิปัญญาท้องถิ่นและนักเรียนทุกคนมีความสำนึกรักชาติ

๙.   ผู้เรียนเห็นคุณค่าและร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม

๑๐.  ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการทำงานโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

               ด้านคุณภาพบุคลากร

๑.   บุคลากรมีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานวิชาชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม มี

จรรยาบรรณ และทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ

๒.   บุคลากรมีขวัญและกำลังใจ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี

               ด้านคุณภาพการบริหารจัดการ

               ๑. โรงเรียนมีการบริหารจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ มีคุณภาพและสามารถตรวจสอบได้

               ๒. โรงเรียนมีเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน  ชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน

               ๓.  โรงเรียนมีระบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

               .  โรงเรียนมีการบริหารจัดการตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มีระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิภาพ

               ด้านคุณภาพแหล่งเรียนรู้

๑.    โรงเรียนมีการพัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและสามารถนำไปใช้ได้อย่าง

มีประสิทธิภาพ

๒.    โรงเรียนมีอาคารสถานที่แหล่งเรียนรู้ อย่างพอเพียงและใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ

การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างสูงสุด

          

                   กลยุทธ์

               .  พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรโรงเรียน พัฒนาอัจฉริยภาพผู้เรียนสู่สากล  และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยี

               จุดเน้น

๑.   การเตรียมความพร้อมด้านร่างกาย  อารมณ์  สังคม  การสอนและสถิติปัญญาตาม

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ

๒.   นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ทุกคนอ่านออกเขียนได้  คิดเลขเป็น และนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง และมีทักษะการคิดพื้นฐาน

                   . ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๕ กลุ่มวิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๕

                   . เพิ่มศักยภาพนักเรียนด้านคณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  และเทคโนโลยี

                   . นักเรียน ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงและสังคมพหุวัฒนธรรม

               . ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

                   จุดเน้น

๑.    นักเรียนทุกคนมีความสำนึกในความรักชาติไทย

๒.    จัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยขยายผลสถานศึกษา

พอเพียงต้นแบบ

๓.    นักเรียนมีทักษะชีวิตในการรับมือกับสถานการณ์และภัยพิบัติต่าง ๆ

 

           . พัฒนาแหล่งเรียนรู้และขยายโอกาสทางการศึกษาให้ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ

                   จุดเน้น

                       ๑. สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง

                       . ลดอัตราออกกลางคัน และศึกษาต่อ

                   . พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ

                   จุดเน้น

๑.    นักเรียน ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความ

พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน มีภูมิคุมกันต่อการเปลี่ยนแปลงและสังคมพหุวัฒนธรรม

๒.    โรงเรียนมีครูและผู้บริหารที่เป็นมืออาชีพ               

           . พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม

                   จุดเน้น

๑.    สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง และได้การรับรองจากการ

ประเมินภายนอก  ตลอดจนการพัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

๒.    โรงเรียนมีความพร้อมและความเข้มแข็งในการบริหารและการจัดการศึกษา

สามารถยกระดับคุณภาพตามหลักการของ  SBM  และหลักธรรมาภิบาล

อัตลักษณ์

               แต่งกายสะอาด  มารยาทงาม

       แต่งกายสะอาด  ประกอบด้วย

๑.      รักษาความสะอาดร่างกายได้อย่างสม่ำเสมอ

๒.      แต่งกายตามระเบียบของโรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์

๓.      แต่งกายสะอาดเรียบร้อย

มารยาทงาม  ประกอบด้วย

            . รู้จักแสดงความเคารพต่อนักเรียนรุ่นพี่

            ๒. รู้จักแสดงความเคารพต่อครู

                                  ๓. รู้จักแสดงความเคารพต่อผู้ปกครอง

                                  ๔. รู้จักแสดงความเคารพต่อพระภิกษุหรือผู้ใหญ่

                                  ๕. ใช้คำพูดสวัสดี  ขอโทษ ขอบคุณ ถูกต้องตามโอกาสอย่างเหมาะสม

                                  ๖. รู้จักการไหว้บุคคลต่างๆ อย่างถูกต้อง

 

เอกลักษณ์

โรงเรียนยอดนิยม

             โรงเรียน  หมายถึง   โรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์

             ยอดนิยม  หมายถึง  มีอัตราแข่งขันเข้าเรียนสูง  และสถานศึกษาที่ผู้ปกครอง หรือผู้รับบริการให้ความสนใจส่งบุตรหลานเข้าศึกษาเป็นจำนวนมาก  เนื่องจากมีจัดการศึกษากิจกรรมการเรียนรู้ หรือพัฒนาผู้เรียน โดยเน้นให้ความสำคัญ หรือพัฒนาผู้เรียนไปในด้านใด ด้านหนึ่ง เป็นพิเศษ ตามความสนใจ หรือความพึงพอใจของผู้ปกครอง ที่เป็นผู้รับบริการเพื่อสนองตอบความต้องการ  มีคุณภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ

           ตัวชี้วัดความสำเร็จ

                .  ร้อยละ  ๘๐  ของผู้เรียนผู้ปกครองและชุมชน มีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาของโรงเรียน                

                 ๒.  นักเรียนร้อยละ  ๘๐ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้อยู่ในระดับดี

                 .  ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๕ กลุ่มวิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๔ ต่อปี

                 ๔. ผู้เรียนร้อยละ  ๙๕ ประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ค่านิยมที่ดีงาม

                 ๕. โรงเรียนมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างทั่วถึง

                 ๖. ผู้เรียนทุกคนสามารถวิเคราะห์และกำหนดเป้าหมายของชีวิตได้

                 ๗. ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมศิลปะ ดนตรี กีฬา ตามความถนัดและความสนใจด้วยความชื่นชมและเต็มใจ

                 ๘. นักเรียนทุกคนสามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและมีผลงานที่สร้างสรรค์

                 ๙.  ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนสามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ และนักเรียนชั้น ป. ๓ ทุกคนอ่านออกเขียนได้

                 ๑๐. ผู้เรียนทุกคนมีแฟ้มสะสมผลงานอย่างหลากหลาย ทั้งในด้านวิชาการ กีฬา  สุนทรียภาพเต็มตามศักยภาพตามความถนัด และความสนใจ

                 ๑๑. นักเรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมประเพณีไทย , ภูมิปัญญาไทย และภูมิปัญญาท้องถิ่นทุกคน  มีผลงานที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณีไทยภูมิปัญญาไทย และภูมิปัญญาท้องถิ่น

                 ๑๒. ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมและเข้าร่วมในการจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน   และสิ่งแวดล้อมทั้งภายใน และหน่วยงานภายนอก

                 ๑๓. ผู้เรียนทุกคนสามารถสร้างผลงานอย่างน้อย ๑ ชิ้น

                 ๑๔. บุคลากรทุกคนได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพ

                 ๑๕. บุคลากรทุกคนสามารถปรับใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ต่อการทำงานของตนเอง

                 ๑๖. โรงเรียนมีระบบการประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติงานที่ชัดเจน

                 ๑๗. บุคลากรทุกคนมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และมีทักษะในการทำงานตามกระบวนการ PDCA

                 ๑๘. โรงเรียนมีการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินการปฏิบัติงานตามแผน

                 ๑๙. โรงเรียนมีเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน ศิษย์เก่า ในรูปแบบของคณะกรรมการ

                 ๒๐. ครูผู้สอนร้อยละ ๘๐ ปรับเปลี่ยนวิธีการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

                 ๒๑. โรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพอย่างเข้มแข็ง มีการรายงานการประเมินตนเอง SAR (Self Assessment Report)

                 ๒๒. โรงเรียนมีระบบข้อมูลสารสนเทศที่เป็นปัจจุบันสามารถนำผลไปใช้ในการจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

                 ๒๓. โรงเรียนมีอาคารเรียนที่สวยงาม สะอาด ปลอดภัย มีแหล่งเรียนรู้ห้องปฏิบัติการเพียงพอต่อความต้องการและอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้อย่างดี

 

มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย : โรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์
( ๑๑ มาตรฐาน ๕๑ ตัวบ่งชี้ )

ตัวบ่งชี้พฤติกรรม
น้ำหนัก ( คะแนน )
ตัวบ่งชี้
รวม
๑.  มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน                                                                                 ๒๐
มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย
 
๑.๑  มีน้ำหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน

๑.๒ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย
๑.๕
๑.๓ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน
๑.๕
๑.๔ หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด
มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
 
๒.๑ ร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง
 
๒.๒ มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก
๒.๓ ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย
๒.๔ ชื่นชมศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักธรรมชาติ
มาตรฐานที่ ๓  เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม
 
๓.๑ มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์
 
๓.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน
๓.๓ เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
๓.๔ ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ
มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา
 
๔.๑ สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้
 
 
๔.๒ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้
๔.๓ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย
๔.๔ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
๔.๕ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
๒.  มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา                                                                              ๖๕
มาตรฐานที่ ๕ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
 
๕๑ ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย
       และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์
 
 
 
 
 
 
 
๒๐
๕.๒ ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา
      ปฐมวัย  และสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้อง
      กับความแตกต่างระหว่างบุคคล
๕.๓ ครูบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวินัยเชิงบวก
๕.๔ ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีเหมาะ สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก
๕.๕ ครูใช้เครื่องมือวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย และ
        สรุปรายงานผลพัฒนาการของเด็กแก่ผู้ปกครอง
๕.๖ ครูวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับ
        การจัดประสบการณ์
๕.๗ ครูจัดสิ่งแวดล้อมในเกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา
๕.๘ ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และผู้ปกครอง
๕.๙ ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัย
๕.๑๐ ครูจัดทำสารนิเทศและนำมาไตร่ตรองเพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนา
        การเด็ก
มาตรฐานที่ ๖ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
 
๖.๑ ผู้บริหารเข้าใจปรัชญา และหลักการของการจัดการศึกษาปฐมวัย
 
 
๒๐
๖.๒ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นำ และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาเด็กปฐมวัย
๖.๓ ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลการประเมินผลหรือการวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ
๖.๔ ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนา
        คุณภาพสถานศึกษา

 

 

 

 

ตัวบ่งชี้พฤติกรรม
น้ำหนัก ( คะแนน )
ตัวบ่งชี้
รวม
๖.๕ ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ
 
๖.๖ ผู้บริหารให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัด
      การศึกษาปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา
๖.๗ เด็ก ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย
มาตรฐานที่ ๗  แนวการจัดการศึกษา
 
๗.๑  มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและนำสู่การปฏิบัติได้
       อย่างมีประสิทธิภาพ
 
 
 
๒๐
 
 
๗.๒ มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัด
       การศึกษาปฐมวัย
๗.๓ จัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจหลักการจัด
      การศึกษาปฐมวัย
๗.๔ สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชนและ
      ท้องถิ่น
๗.๕ จัดสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างชัดเจน
มาตรฐานที่ ๘  สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
 
๘.๑ กำหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา
 
 
 
 
๘.๒ จัดทำและดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
      ที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๘.๓ จัดระบบสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ
๘.๔ ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานคุณภาพภายใน
      ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๐.๕
๘.๕ นำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนา
      คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๐.๕
๘.๖ จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน

 

 

 

 

 

ตัวบ่งชี้พฤติกรรม
น้ำหนัก ( คะแนน )
ตัวบ่งชี้
รวม
๓.  มาตรฐานที่ด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้                                                              
มาตรฐานที่ ๙  สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
๙.๑ เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา
๒.๕
 
๙.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับ
      ครอบครัวชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
๒.๕
๔.  มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา                                                                    
มาตรฐานที่ ๑๐ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ จุดเน้นของ  
                   การศึกษาปฐมวัย
 
๑๐.๑ จัดโครงการ กิจกรรมพัฒนาเด็กให้บรรลุตามเป้าหมาย ปรัชญา
        วิสัยทัศน์และจุดเน้นการจัดการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา
 
๑๐.๒ ผลการดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย
๕.  มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม                                                                              
มาตรฐานที่ ๑๑ การพัฒนาสถานศึกษาตามนโยบายและแนวทางปฏิรูปการศึกษา เพื่อยกระดับ
                   คุณภาพให้สูงขึ้น
 
๑๑.๑ จัดโครงการ กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนตามนโยบายเกี่ยวกับการจัด
         การศึกษาปฐมวัย
 
๑๑.๒  ผลการดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย

 

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา  :  ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  โรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
น้ำหนัก(คะแนน)
ตัวบ่งชี้
รวม
ด้านคุณภาพผู้เรียน
 
๓๐
มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
 
๑.๑
มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกำลังกาย สม่ำเสมอ
๐.๕
๑.๒
มีน้ำหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน
 
๐.๕
๑.๓
ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรค ภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ          
๑.๔
เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
๑.๕
มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น 
๑.๖  
สร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ
ตามจินตนาการ
มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
 
๒.๑
มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร
๒.๒
เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
๒.๓
ยอมรับความคิดด้านวัฒนธรรมและภาษาที่แตกต่าง
๒.๔
ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่    ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง
                     อย่างต่อเนื่อง
 
๓.๑
มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆ รอบตัว              
๓.๒
มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน  และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
๓.๓
เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน 
๓.๔
ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล         
 
๔.๑
สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง
๔.๒
นำเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
๔.๓
กำหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ
๔.๔
มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
๕.๑
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์
๕.๒
ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์
๕.๓
ผลการประเมินการอ่าน  คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์
๕.๔
ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน  สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต 
 
๖.๑
วางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จ
๖.๒
ทำงานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง
๖.๓
ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
๖.๔
มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ
 
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
 
๕๐
มาตรฐานที่ ๗  ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
 
๑๐
๗.๑
ครูมีการกำหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ  สมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
๗.๒
ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน                
๗.๓
ครูออกแบบและการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา     
๗.๔
ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนำบริบทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้
๗.๕
ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
๗.๖
ครูให้คำแนะนำ คำปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและคุณภาพชีวิตด้วยความเสมอภาค
๗.๗
ครูมีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการสอน
๗.๘
ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา
๗.๙
ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ
มาตรฐานที่ ๘  ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
 
๑๐
๘.๑
ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นำ และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน
๘.๒ 
ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลผลการประเมินหรือผลการวิจัย เป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ                             
๘.๓
ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ใน
แผนปฏิบัติการ
๘.๔
ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับการกระจายอำนาจ
๘.๕
นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา
๘.๖
ผู้บริหารให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็มเวลา
มาตรฐานที่ ๙  คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
 
๙.๑
คณะกรรมการสถานศึกษารู้และปฏิบัติหน้าที่ตามที่ระเบียบกำหนด
๙.๒
คณะกรรมการสถานศึกษากำกับติดตาม ดูแล และขับเคลื่อนการดำเนินงานของสถานศึกษาให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย
๙.๓
ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๑๐ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนา
                   คุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน
 
๑๐
๑๐.๑
หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น
๑๐.๒
จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถ
และความสนใจ
๑๐.๓
จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ ความสามารถ    ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน
๑๐.๔
สนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง
๑๐.๕
นิเทศภายใน กำกับ ติดตามตรวจสอบ และนำผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่าง
สม่ำเสมอ
๑๐.๖ 
จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน
มาตรฐานที่ ๑๑  สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
                    พัฒนาเต็มศักยภาพ                                        
 
๑๐
๑๑.๑ 
ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้เรียน
๑๑.๒ 
จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน
๑๑.๓ 
จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและหรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
 
๑๒.๑ 
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๑๒.๒ 
จัดทำและดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา                         
๑๒.๓
จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
๑๒.๔
ติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
  ๐.๕
๑๒.๕
นำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๐.๕
๑๒.๖ 
จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน
มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 
 
๑๐
มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
๑๐
๑๓.๑
มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาและใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากรของสถานศึกษา รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง                                                                   
๑๓.๒
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับ
ครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา 
 
มาตรฐานที่ ๑๔ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่กำหนดขึ้น
 
๑๔.๑ 
ผู้เรียนแต่งเครื่องแบบถูกระเบียบ  สุภาพเรียบร้อย
๑๔.๒ 
ผู้เรียนแต่งกายสะอาด  ถูกต้องตามกาลเทศะ
๑๔.๓
ผู้เรียนแสดงความเคารพและประพฤติปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณี
๑๔.๔
ผู้เรียนแสดงกิริยา  วาจา  สุภาพถูกกาลเทศะ
มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม 
 
 
มาตรฐานที่ ๑๕ การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษา
                    เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น   
 
๑๕.๑ 
จัดโครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียน