แบบฟอร์มการเขียนโครงการ/กิจกรรมที่บรรจุไว้ในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ
๒๕๕๖
๑.
แผนงาน (กลยุทธ์โรงเรียน)……………………….……………………………….
๒.
ชื่อโครงการ........................................................................................
(ชื่อกิจกรรม :
……………………………………………………………………………………)
๓.
หลักการและเหตุผล......................................................................................................
๔.
วัตถุประสงค์
๔.๑
....................................................................................................................
๔.๒
...................................................................................................................
๕.
เป้าหมาย
๕.๑
เป้าหมายเชิงปริมาณ................................................................................
๕.๒
เป้าหมายเชิงคุณภาพ................................................................................
๖.
วิธีดำเนินการ/ขั้นตอนดำเนินงาน
กิจกรรมสำคัญ
|
ระยะเวลา
|
งบประมาณ
|
ผู้รับผิดชอบ
|
๑.............................................
|
|
|
|
๒.............................................
|
|
|
|
๓.............................................
|
|
|
|
๔.............................................
|
|
|
|
๗. ระยะเวลาดำเนินการ………………………………………………………………………………………………..
๘.งบประมาณ...........................................................................บาท
๙.
หน่วยงาน/ผู้เกี่ยวข้อง........................................................................................................................
๑๐.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ........................................................................................................................
ลงชื่อ..........................................ผู้เสนอโครงการ ลงชื่อ.........................................ผู้เห็นชอบโครงการ
(..........................................) (นางสาวจุรีรัตน์ นาคสมบัติ)
ตำแหน่ง.................................... ครู
ลงชื่อ..........................................ผู้เห็นชอบโครงการ ลงชื่อ.........................................ผู้เห็นชอบโครงการ
(..........................................) (นายเอกราช บุราชรินทร์)
รองผู้อำนวยการกลุ่มงานบริหารที่รับผิดชอบ
รองผู้อำนวยการโรงเรียนกลุ่มงานบริหารงบประมาณและแผนงาน
ลงชื่อ........................................ผู้อนุมัติโครงการ
(นายทองหล่อ สิงห์คง)
ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์
ที่มา
:
หนังสือ “แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ
หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓” เล่มที่ ๓
สำนักงานทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๔ หน้า ๖๐-๖๑,๙๖-๑๐๔
นโยบายการจัดการศึกษาของโรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์ ปีการศึกษา ๒๕๕๕
วิสัยทัศน์
ภายในปี
พ.ศ. ๒๕๕๗
โรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์
เป็นโรงเรียนชั้นดีมีมาตรฐาน ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เคียงคู่คุณธรรม เป็นผู้นำวิชาการ สืบสานความเป็นไทย ก้าวไกลสู่สากล
พันธกิจ
๑. จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและสู่ความเป็นสากล
๒. พัฒนาผู้เรียนให้มีระเบียบวินัย พร้อมด้วยคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา
๓. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
พัฒนาตนเองตามศักยภาพอย่าง
ต่อเนื่อง
มีความเป็นประชาธิปไตย อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
๔. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการ
มีทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ การใช้เทคโนโลยีและภาษาในการสื่อสาร
๕. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนแสดงออกถึงความสามารถพิเศษตามศักยภาพแห่งตน
๖. ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้
ตามมาตรฐานวิชาชีพมีความสามารถในการ
บริหารงานจัดการเรียนรู้เน้นที่ผู้เรียนเป็นสำคัญ
และมีทักษะการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ
๗. ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่
๘. พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพตามเกณฑ์
๙. พัฒนาทรัพยากรด้านการศึกษา
แหล่งการเรียนรู้ให้เพียงพอต่อการจัดการเรียนรู้
ส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและพลังงาน
๑๐. ส่งเสริมการอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
๑๑. ส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีและการมีส่วนร่วม
ระหว่างบ้าน โรงเรียน ศิษย์เก่าและ
ชุมชน
เป้าหมาย
ด้านคุณภาพผู้เรียน
๑. มีหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น สอดคล้องกับการศึกษา
ของชาติ
๒. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้อยู่ในระดับ
๓ -๔
และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๕ วิชาหลักเพิ่มขึ้นร้อยละ ๔
๓. ผู้เรียนประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
๔. ผู้เรียนมีทักษะที่จำเป็นในการดำเนินชีวิต
มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มี
สุนทรียภาพ
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
๕. ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๖. ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
๗. ผู้เรียนสร้างสรรค์ผลงานอย่างหลากหลาย
เต็มศักยภาพ ตามความถนัดและความ
สนใจ
๘. ผู้เรียนเห็นคุณค่าและภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
ภูมิปัญญาไทย
และภูมิปัญญาท้องถิ่นและนักเรียนทุกคนมีความสำนึกรักชาติ
๙. ผู้เรียนเห็นคุณค่าและร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
พลังงาน และสิ่งแวดล้อม
๑๐. ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการทำงานโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ด้านคุณภาพบุคลากร
๑. บุคลากรมีความรู้
ความสามารถตามมาตรฐานวิชาชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม มี
จรรยาบรรณ
และทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ
๒. บุคลากรมีขวัญและกำลังใจ
และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ด้านคุณภาพการบริหารจัดการ
๑.
โรงเรียนมีการบริหารจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ มีคุณภาพและสามารถตรวจสอบได้
๒.
โรงเรียนมีเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน
ชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน
๓. โรงเรียนมีระบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๔. โรงเรียนมีการบริหารจัดการตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา
มีระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิภาพ
ด้านคุณภาพแหล่งเรียนรู้
๑. โรงเรียนมีการพัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและสามารถนำไปใช้ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
๒. โรงเรียนมีอาคารสถานที่แหล่งเรียนรู้
อย่างพอเพียงและใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างสูงสุด
กลยุทธ์
๑. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรโรงเรียน
พัฒนาอัจฉริยภาพผู้เรียนสู่สากล และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยี
จุดเน้น
๑. การเตรียมความพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์
สังคม การสอนและสถิติปัญญาตาม
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ
๒. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่
๓ ทุกคนอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น
และนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่
๖ ทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง และมีทักษะการคิดพื้นฐาน
๓. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๕ กลุ่มวิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๕
๔. เพิ่มศักยภาพนักเรียนด้านคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
๕. นักเรียน ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงและสังคมพหุวัฒนธรรม
๒. ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย
และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้น
๑. นักเรียนทุกคนมีความสำนึกในความรักชาติไทย
๒. จัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยขยายผลสถานศึกษา
พอเพียงต้นแบบ
๓. นักเรียนมีทักษะชีวิตในการรับมือกับสถานการณ์และภัยพิบัติต่าง
ๆ
๓. พัฒนาแหล่งเรียนรู้และขยายโอกาสทางการศึกษาให้ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
จุดเน้น
๑. สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง
๒. ลดอัตราออกกลางคัน และศึกษาต่อ
๔. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ
จุดเน้น
๑. นักเรียน
ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความ
พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
มีภูมิคุมกันต่อการเปลี่ยนแปลงและสังคมพหุวัฒนธรรม
๒. โรงเรียนมีครูและผู้บริหารที่เป็นมืออาชีพ
๕. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม
จุดเน้น
๑. สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง
และได้การรับรองจากการ
ประเมินภายนอก ตลอดจนการพัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล
๒. โรงเรียนมีความพร้อมและความเข้มแข็งในการบริหารและการจัดการศึกษา
สามารถยกระดับคุณภาพตามหลักการของ SBM
และหลักธรรมาภิบาล
อัตลักษณ์
แต่งกายสะอาด
มารยาทงาม
แต่งกายสะอาด ประกอบด้วย
๑. รักษาความสะอาดร่างกายได้อย่างสม่ำเสมอ
๒. แต่งกายตามระเบียบของโรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์
๓. แต่งกายสะอาดเรียบร้อย
มารยาทงาม ประกอบด้วย
๑. รู้จักแสดงความเคารพต่อนักเรียนรุ่นพี่
๒. รู้จักแสดงความเคารพต่อครู
๓. รู้จักแสดงความเคารพต่อผู้ปกครอง
๔. รู้จักแสดงความเคารพต่อพระภิกษุหรือผู้ใหญ่
๕. ใช้คำพูดสวัสดี ขอโทษ ขอบคุณ ถูกต้องตามโอกาสอย่างเหมาะสม
๖. รู้จักการไหว้บุคคลต่างๆ
อย่างถูกต้อง
เอกลักษณ์
โรงเรียนยอดนิยม
โรงเรียน หมายถึง
โรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์
ยอดนิยม หมายถึง
มีอัตราแข่งขันเข้าเรียนสูง และสถานศึกษาที่ผู้ปกครอง
หรือผู้รับบริการให้ความสนใจส่งบุตรหลานเข้าศึกษาเป็นจำนวนมาก เนื่องจากมีจัดการศึกษากิจกรรมการเรียนรู้
หรือพัฒนาผู้เรียน โดยเน้นให้ความสำคัญ หรือพัฒนาผู้เรียนไปในด้านใด ด้านหนึ่ง
เป็นพิเศษ ตามความสนใจ หรือความพึงพอใจของผู้ปกครอง
ที่เป็นผู้รับบริการเพื่อสนองตอบความต้องการ มีคุณภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
๑. ร้อยละ ๘๐
ของผู้เรียนผู้ปกครองและชุมชน มีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
๒. นักเรียนร้อยละ ๘๐
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้อยู่ในระดับดี
๓. ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๕
กลุ่มวิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๔ ต่อปี
๔. ผู้เรียนร้อยละ ๙๕ ประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ค่านิยมที่ดีงาม
๕.
โรงเรียนมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างทั่วถึง
๖.
ผู้เรียนทุกคนสามารถวิเคราะห์และกำหนดเป้าหมายของชีวิตได้
๗. ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมศิลปะ ดนตรี
กีฬา ตามความถนัดและความสนใจด้วยความชื่นชมและเต็มใจ
๘.
นักเรียนทุกคนสามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและมีผลงานที่สร้างสรรค์
๙. ร้อยละ ๘๐
ของนักเรียนสามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และนักเรียนชั้น ป. ๓ ทุกคนอ่านออกเขียนได้
๑๐. ผู้เรียนทุกคนมีแฟ้มสะสมผลงานอย่างหลากหลาย ทั้งในด้านวิชาการ กีฬา สุนทรียภาพเต็มตามศักยภาพตามความถนัด
และความสนใจ
๑๑. นักเรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมประเพณีไทย , ภูมิปัญญาไทย
และภูมิปัญญาท้องถิ่นทุกคน มีผลงานที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณีไทยภูมิปัญญาไทย
และภูมิปัญญาท้องถิ่น
๑๒.
ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมและเข้าร่วมในการจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
พลังงาน และสิ่งแวดล้อมทั้งภายใน
และหน่วยงานภายนอก
๑๓.
ผู้เรียนทุกคนสามารถสร้างผลงานอย่างน้อย ๑ ชิ้น
๑๔. บุคลากรทุกคนได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพ
๑๕. บุคลากรทุกคนสามารถปรับใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ต่อการทำงานของตนเอง
๑๖.
โรงเรียนมีระบบการประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติงานที่ชัดเจน
๑๗. บุคลากรทุกคนมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และมีทักษะในการทำงานตามกระบวนการ
PDCA
๑๘. โรงเรียนมีการกำกับ ติดตาม
ตรวจสอบและประเมินการปฏิบัติงานตามแผน
๑๙.
โรงเรียนมีเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน ศิษย์เก่า ในรูปแบบของคณะกรรมการ
๒๐. ครูผู้สอนร้อยละ ๘๐
ปรับเปลี่ยนวิธีการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๒๑.
โรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพอย่างเข้มแข็ง มีการรายงานการประเมินตนเอง SAR (Self Assessment Report)
๒๒. โรงเรียนมีระบบข้อมูลสารสนเทศที่เป็นปัจจุบันสามารถนำผลไปใช้ในการจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒๓.
โรงเรียนมีอาคารเรียนที่สวยงาม สะอาด ปลอดภัย
มีแหล่งเรียนรู้ห้องปฏิบัติการเพียงพอต่อความต้องการและอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้อย่างดี
มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
:
โรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์
( ๑๑ มาตรฐาน ๕๑ ตัวบ่งชี้ )
ตัวบ่งชี้พฤติกรรม
|
น้ำหนัก ( คะแนน )
|
ตัวบ่งชี้
|
รวม
|
๑. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน
๒๐
|
มาตรฐานที่ ๑
เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย
|
|
๑.๑ มีน้ำหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
|
๑
|
๕
|
๑.๒
มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย
|
๑.๕
|
๑.๓
มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน
|
๑.๕
|
๑.๔
หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด
|
๑
|
มาตรฐานที่ ๒
เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
|
|
๒.๑ ร่าเริงแจ่มใส
มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง
|
๑
|
๕
|
๒.๒
มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก
|
๑
|
๒.๓
ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย
|
๑
|
๒.๔ ชื่นชมศิลปะ ดนตรี
การเคลื่อนไหว และรักธรรมชาติ
|
๒
|
มาตรฐานที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม
|
|
๓.๑ มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่
ครูอาจารย์
|
๒
|
๕
|
๓.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริต
ช่วยเหลือแบ่งปัน
|
๑
|
๓.๓
เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
|
๑
|
๓.๔
ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ
|
๑
|
มาตรฐานที่ ๔
เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา
|
|
๔.๑ สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ
และรักการเรียนรู้
|
๑
|
๕
|
๔.๒
มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้
|
๑
|
๔.๓
มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย
|
๑
|
๔.๔
มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
|
๑
|
๔.๕
มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
|
๑
|
๒. มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
๖๕
|
มาตรฐานที่ ๕ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
|
|
๕๑ ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ
และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย
และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์
|
๒
|
๒๐
|
๕.๒
ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัย
และสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้อง
กับความแตกต่างระหว่างบุคคล
|
๒
|
๕.๓ ครูบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวินัยเชิงบวก
|
๒
|
๕.๔
ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีเหมาะ สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก
|
๒
|
๕.๕
ครูใช้เครื่องมือวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย และ
สรุปรายงานผลพัฒนาการของเด็กแก่ผู้ปกครอง
|
๒
|
๕.๖ ครูวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ
และใช้ผลในการปรับ
การจัดประสบการณ์
|
๒
|
๕.๗
ครูจัดสิ่งแวดล้อมในเกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา
|
๒
|
๕.๘
ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และผู้ปกครอง
|
๒
|
๕.๙
ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัย
|
๒
|
๕.๑๐ ครูจัดทำสารนิเทศและนำมาไตร่ตรองเพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนา
การเด็ก
|
๒
|
มาตรฐานที่ ๖
ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
|
|
๖.๑ ผู้บริหารเข้าใจปรัชญา
และหลักการของการจัดการศึกษาปฐมวัย
|
๓
|
๒๐
|
๖.๒ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์
ภาวะผู้นำ และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาเด็กปฐมวัย
|
๓
|
๖.๓
ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลการประเมินผลหรือการวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ
|
๓
|
๖.๔
ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนา
คุณภาพสถานศึกษา
|
๓
|
ตัวบ่งชี้พฤติกรรม
|
น้ำหนัก ( คะแนน )
|
ตัวบ่งชี้
|
รวม
|
๖.๕
ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ
|
๓
|
|
๖.๖ ผู้บริหารให้คำแนะนำ
คำปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัด
การศึกษาปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา
|
๓
|
๖.๗ เด็ก ผู้ปกครอง
และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย
|
๒
|
มาตรฐานที่ ๗ แนวการจัดการศึกษา
|
|
๗.๑
มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและนำสู่การปฏิบัติได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
|
๔
|
๒๐
|
๗.๒
มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัด
การศึกษาปฐมวัย
|
๔
|
๗.๓
จัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจหลักการจัด
การศึกษาปฐมวัย
|
๔
|
๗.๔
สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชนและ
ท้องถิ่น
|
๔
|
๗.๕
จัดสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างชัดเจน
|
๔
|
มาตรฐานที่ ๘
สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
|
|
๘.๑
กำหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา
|
๑
|
๕
|
๘.๒ จัดทำและดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
|
๑
|
๘.๓
จัดระบบสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ
|
๑
|
๘.๔ ติดตามตรวจสอบ
และประเมินผลการดำเนินงานคุณภาพภายใน
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
|
๐.๕
|
๘.๕
นำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
|
๐.๕
|
๘.๖
จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน
|
๑
|
ตัวบ่งชี้พฤติกรรม
|
น้ำหนัก ( คะแนน )
|
ตัวบ่งชี้
|
รวม
|
๓. มาตรฐานที่ด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
๕
|
มาตรฐานที่ ๙ สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน
ให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
|
๙.๑ เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา
|
๒.๕
|
๕
|
๙.๒
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับ
ครอบครัวชุมชน
และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
|
๒.๕
|
๔. มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
๕
|
มาตรฐานที่ ๑๐
การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ จุดเน้นของ
การศึกษาปฐมวัย
|
|
๑๐.๑ จัดโครงการ
กิจกรรมพัฒนาเด็กให้บรรลุตามเป้าหมาย ปรัชญา
วิสัยทัศน์และจุดเน้นการจัดการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา
|
๓
|
๕
|
๑๐.๒
ผลการดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย
|
๒
|
๕. มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม
๕
|
มาตรฐานที่ ๑๑ การพัฒนาสถานศึกษาตามนโยบายและแนวทางปฏิรูปการศึกษา
เพื่อยกระดับ
คุณภาพให้สูงขึ้น
|
|
๑๑.๑ จัดโครงการ
กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนตามนโยบายเกี่ยวกับการจัด
การศึกษาปฐมวัย
|
๓
|
๕
|
๑๑.๒ ผลการดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย
|
๒
|
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
|
น้ำหนัก(คะแนน)
|
ตัวบ่งชี้
|
รวม
|
ด้านคุณภาพผู้เรียน
|
|
๓๐
|
มาตรฐานที่ ๑
ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
|
|
๕
|
๑.๑
|
มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกำลังกาย
สม่ำเสมอ
|
๐.๕
|
๑.๒
|
มีน้ำหนัก ส่วนสูง
และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน
|
๐.๕
|
๑.๓
|
ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง
โรค ภัย
อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ
|
๑
|
๑.๔
|
เห็นคุณค่าในตนเอง
มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
|
๑
|
๑.๕
|
มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น
|
๑
|
๑.๖
|
สร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ
ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ
ตามจินตนาการ
|
๑
|
มาตรฐานที่ ๒
ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม
และค่านิยมที่พึงประสงค์
|
|
๕
|
๒.๑
|
มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร
|
๒
|
๒.๒
|
เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
|
๑
|
๒.๓
|
ยอมรับความคิดด้านวัฒนธรรมและภาษาที่แตกต่าง
|
๑
|
๒.๔
|
ตระหนัก รู้คุณค่า
ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
|
๑
|
มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่อง
|
|
๕
|
๓.๑
|
มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด
แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆ
รอบตัว
|
๒
|
๓.๒
|
มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
|
๑
|
๓.๓
|
เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
|
๑
|
๓.๔
|
ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
|
๑
|
มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์
ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล
|
|
๕
|
๔.๑
|
สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน
ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง
|
๒
|
๔.๒
|
นำเสนอวิธีคิด
วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
|
๑
|
๔.๓
|
กำหนดเป้าหมาย คาดการณ์
ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ
|
๑
|
๔.๔
|
มีความคิดริเริ่ม
และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
|
๑
|
๕.๑
|
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์
|
๑
|
๕.๒
|
ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์
|
๑
|
๕.๓
|
ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์
|
๒
|
๕.๔
|
ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์
|
๑
|
มาตรฐานที่ ๖
ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
|
|
๕
|
๖.๑
|
วางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จ
|
๒
|
๖.๒
|
ทำงานอย่างมีความสุข
มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง
|
๑
|
๖.๓
|
ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
|
๑
|
๖.๔
|
มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ
|
๑
|
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
|
|
๕๐
|
มาตรฐานที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
|
|
๑๐
|
๗.๑
|
ครูมีการกำหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้
ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ
และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
|
๑
|
๗.๒
|
ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
และใช้ข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
|
๑
|
๗.๓
|
ครูออกแบบและการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา
|
๒
|
๗.๔
|
ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนำบริบทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้
|
๑
|
๗.๕
|
ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
|
๑
|
๗.๖
|
ครูให้คำแนะนำ
คำปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและคุณภาพชีวิตด้วยความเสมอภาค
|
๑
|
๗.๗
|
ครูมีการศึกษา
วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการสอน
|
๑
|
๗.๘
|
ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
และเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา
|
๑
|
๗.๙
|
ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา
เต็มความสามารถ
|
๑
|
มาตรฐานที่
๘
ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
|
|
๑๐
|
๘.๑
|
ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์
ภาวะผู้นำ และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน
|
๑
|
๘.๒
|
ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลผลการประเมินหรือผลการวิจัย เป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ
|
๒
|
๘.๓
|
ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ใน
แผนปฏิบัติการ
|
๒
|
๘.๔
|
ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับการกระจายอำนาจ
|
๒
|
๘.๕
|
นักเรียน ผู้ปกครอง
และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา
|
๑
|
๘.๖
|
ผู้บริหารให้คำแนะนำ
คำปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็มเวลา
|
๒
|
มาตรฐานที่ ๙ คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง
ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
|
|
๕
|
๙.๑
|
คณะกรรมการสถานศึกษารู้และปฏิบัติหน้าที่ตามที่ระเบียบกำหนด
|
๒
|
๙.๒
|
คณะกรรมการสถานศึกษากำกับติดตาม
ดูแล และขับเคลื่อนการดำเนินงานของสถานศึกษาให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย
|
๑
|
๙.๓
|
ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา
|
๒
|
มาตรฐานที่ ๑๐
สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน
|
|
๑๐
|
๑๐.๑
|
หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น
|
๒
|
๑๐.๒
|
จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัด
ความสามารถ
และความสนใจ
|
๒
|
๑๐.๓
|
จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ
ความสามารถ ความถนัด
และความสนใจของผู้เรียน
|
๑
|
๑๐.๔
|
สนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง
|
๑
|
๑๐.๕
|
นิเทศภายใน
กำกับ ติดตามตรวจสอบ
และนำผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่าง
สม่ำเสมอ
|
๒
|
๑๐.๖
|
จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน
|
๒
|
มาตรฐานที่ ๑๑
สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
พัฒนาเต็มศักยภาพ
|
|
๑๐
|
๑๑.๑
|
ห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้เรียน
|
๔
|
๑๑.๒
|
จัดโครงการ
กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน
|
๓
|
๑๑.๓
|
จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและหรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
|
๓
|
มาตรฐานที่ ๑๒
สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
|
|
๕
|
๑๒.๑
|
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
|
๑
|
๑๒.๒
|
จัดทำและดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
|
๑
|
๑๒.๓
|
จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
|
๑
|
๑๒.๔
|
ติดตามตรวจสอบ
และประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
|
๐.๕
|
๑๒.๕
|
นำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
|
๐.๕
|
๑๒.๖
|
จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน
|
๑
|
มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
|
|
๑๐
|
มาตรฐานที่
๑๓ สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
|
๑๐
|
๑๓.๑
|
มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาและใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้
ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากรของสถานศึกษา
รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง
|
๕
|
๑๓.๒
|
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษา
ระหว่างสถานศึกษากับ
ครอบครัว ชุมชน
และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
|
๕
|
มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
|
|
๕
|
มาตรฐานที่
๑๔ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา
และจุดเน้นที่กำหนดขึ้น
|
|
๕
|
๑๔.๑
|
ผู้เรียนแต่งเครื่องแบบถูกระเบียบ สุภาพเรียบร้อย
|
๒
|
๑๔.๒
|
ผู้เรียนแต่งกายสะอาด ถูกต้องตามกาลเทศะ
|
๑
|
๑๔.๓
|
ผู้เรียนแสดงความเคารพและประพฤติปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณี
|
๑
|
๑๔.๔
|
ผู้เรียนแสดงกิริยา วาจา
สุภาพถูกกาลเทศะ
|
๑
|
มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม
|
|
|
มาตรฐานที่ ๑๕
การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษา
เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น
|
|
๕
|
๑๕.๑
|
จัดโครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียน
|
๓
|